Bubbles Bubbles

วันเสาร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2559


บันทึกการเรียนครั้งที่  3

วัน ศุกร์  ที่  29  มกราคม 2559  เวลา 08.30 - 12.30 น



เนื้อหาที่เรียน
   อาจารย์ให้เขียนชื่อใส่กระดาษและนำไปติดไว้ที่กระดานหน้าห้อง
เอาไปตรงที่เขียนว่ามา ส่วนคนไม่มาก็เขียนให้เพื่อนและนำไปติดช่องที่ไม่มา เป้นทักษะการนับให้ได้รู้จักการเขียนการบอกหรืออาจจะเป็นใช่สติกเกอร์ตัวเลขไทยหรือแอร์โรบิก
   ต่อมามีการคิดวิธีใหม่ในการแบ่งกลุ่มว่าเด็กมาเรียนกี่คนได้แบ่งกลุ่มเป็น สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม สามเหลี่ยมพื่นผ้า สามเหลี่ยมคางหมู จะได้ว่ากลุ่มไหนมาเรียนกี่คน การนับจำนวนเด็กมักจะหยิบออกและนักส่วนที่เหลือ 
   มีเพื่อนออกมานำเสนอหวัข้อที่ได้รับ 3 คน 
   อาจารย์เปิดพาวเวอร์พ้อยเรื่องเด็กปฐมวัยเรียนรู้อะไรจากคณิตศาสตร์
-สาระและมาตราฐานการเรียนรู้
-มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับความยาว นำหนัก ปริมาตา เงิน
และเวลา
-ความรู้พื้นฐานทางเลขาคณิต
-มีความรู้ความเข้าใจแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด สีที่สัมพันอย่างใดอย่างหนึ่ง
-มีส่วนในการกาข้อมูลและนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิอย่างง่าย
-มีทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็น


ทักษะ/ระดมความคิด
   ช่วยกันหาวิธีการนับเด็กมาเรียนกี่คนและช่วยกันตอบปัญหาที่อาจารย์ให้ช่วยกันคิด

บรรยากาศในห้องเรียน
  วันนี้ไฟดับค่ะ แต่ไม่นานอากาศวันนี้หนาวมากค่ะ

การจัดการเรียนการสอน
  อาจารย์จะนำปัญหามาให้นักศึกแก้และมาการตอบคำถามและเปลี่ยนกัน

วิเคราะห์ตนเอง
  วันนี้ตั้งใจฟังที่อาจารย์สอนค่ะ 






   

วันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2559



สรุปวิดีโอตัวอย่างการสอน

           การเรียนการสอนคณิตของประเทศอังกฤษ ที่วินเทสเตอร์
       คือ การสอนจะมากิจกรรมหรือการเต้น การเต้นจะมีการนับเลข          อยู่ด้วยอย่างเช่นเวลาร้องหรือเต้นจะต้องชูนิ้วขึ้นมาเพื่อเป็นการฝึก      การขับเลขไปในตัว การสอนจะมีกิจกรรมให้เด็กเล่นก่อนเพื่อให้         เด็กตื่นตัวกับการเรียน  ก่อนที่จะเข้าสู่เนื้อหาหลักจะให้เด็กๆทำ           เกี่ยวกับตัวเลขก่อนคือครูจะพูดเลขและให้เด็กๆชูนิ้วตามที่ครูบอก
    มีให้เด็กบวกเลข  ครูจะต้องทำให้เด็กสนุกและอยากมาโรงเรียน
    และครูต้องสนุกไปกับการสอน 
    การสอนมีการคิดเป็นขั้นเป็นตอนมีการฝึกเด็กเป็นคอลัมให้เด็กมี        ความสุขกับสิ่งที่ทำ ให้เด็กได้มีความคิดของตัวเอง เพราะครูคิดว่า
    การที่ให้เด็กได้คิดเองจะทำให้เด็กเรียนรู้ได้เร๊วและมีการพันาของ      ตัวเด็กที่ดีขึ้น



สรุปวิจัย
การพฒนาทกษะทางคณตศาสตร์สําหรบนกเรยนชนอนบาลปีที่  2โดยใช้กิจกรรมเสรตามแนวคิด   ไฮ/สโคป

การศึกษาค้นคว้าอิสระของ  : ศิริพรรณสิทธิพูนอนภาพ
      เสนอต่อมหาวทยาลยมหาสารคามเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน 

จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
     เพื่อศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่  2 ที่ได้รับการจัดประสบการณ์โดยใช้กิจกรรมเสรีตามแนวคิด ไฮ/สโคป


เครื่องมือที่ใช้ในการค้นคว้า
    มี 4 ชนิด คือ 

1 แผนการจัดประสบการณ์โดยใช้กิจกรรมเสรีตามแนวคิดไฮ/สโคป (High/Scope)  จํานวน  16  แผน ทําการสอนแผนละ  50  นาที

2 แบบทดสอบย่อยท้ายแผน
      ชนิดรูปภาพแบบเลือกตอบ  3  ตัวเลือกจํานวน  4  ฉบับๆละ 10 ข้อประกอบด้วยแบบทดสอบการจำแนกและเปรียบเทียบ

3 แบบวัดทักษะทางคณิตศาสตร์
    ชนิดเลือกตอบ  3  ตัวเลือกจํานวน  1  ฉบับ

4 แบบวัดความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
    


สรุป    เด็กปฐมวัยสามารถเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้จากการเล่นหรือกิจ
กรรมที่ครูวางแผนให้ในชั้นเรียนโดยให้เด็กมีโอกาสได้ใช้ความคิดค้นคว้า  แก้ปัญหาและเป็นพื้นฐานสำหรับการศึกษาที่สูงขึ้นและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันต่อไป











คป


สรุปบทความ

เด็กปฐมวัยเรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์

คอลัมน์: สกู๊ปพิเศษ: เด็กปฐมวัยเรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์

    เด็กปฐมวัย เป็นวัยเริ่มต้นแห่งการเรียนรู้ มีความอยากรู้อยากเห็น ช่างสังเกต ชอบเล่นและสำรวจสิ่งต่างๆ รอบตัว โดยวิชาคณิตศาสตร์จะสามารถพัฒนาเสริมสร้างให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและสิ่งต่างๆ รอบตัวได้เป็นอย่างดี
     คณิตศาสตร์มีความสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดของเด็ก
คุณภาพทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ในแต่ละช่วงอายุมีความซับซ้อนแตกต่างกัน ซึ่งคุณภาพทางคณิตศาสตร์ของเด็ก3 ปี ควรมีความสามารถดังนี้ 

1) เด็กมีความรู้ ความเข้าใจและมีพัฒนาการด้านความรู้สึกเชิงจำนวนเกี่ยวกับจำนวนนับไม่เกินห้าและเข้าใจเกี่ยวกับการรวมกลุ่ม และการแยกกลุ่ม 

2) เด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ปริมาตร และเวลา 

3) เด็กมีความรู้ ความเข้าใจ แบบรู้ของรูปที่มี รูปร่าง ขนาด สี ที่สัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง


    ครูผู้สอนจำเป็นต้องศึกษาและทำความเข้าใจ เกี่ยวกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้และสาระสำคัญทางคณิตศาสตร์ ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยครูต้องยึดเด็กเป็นสำคัญ 
     
    นอกจากนั้น เทคนิคการจูงใจให้เด็กๆ สนุกกับการเรียนคณิตศาสตร์อีกอย่างคือ ให้เด็กได้เรียนรู้และค้นพบสิ่งท้าทาย ด้วยกิจกรรมและเกมที่ช่วยฝึกทักษะคณิตศาสตร์ให้เด็กได้ร่วมสนุกพร้อมสอดแทรกเนื้อหาความรู้เข้าไป 













วันศุกร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2559



บันทึกการเรียนครั้งที่  2

วัน ศุกร์  ที่  15  มกราคม 2559  เวลา 08.30 - 12.30 น


เนื้อหาที่เรียน
    วันนี้ครูได้ยื่นกระดาษให้เพื่อนและส่งต่อแต่มีเพื่อนคนนึงที่หยิบไว้ให้เพื่อนแถวตัวเองและส่งต่อพออาจารย์เห็นก็บอกให้หยุดแล้วให้ส่งตามที่ส่งตอนแรก เพราะเป็นการสอนเด็ก คือการส่ง 1 ต่อ 1
     อาจารย์ให้ทำมายแม็บจากกระดาษที่แจกและสอนว่าจะต้องวนจากขาวหรือตามเข็มนาฬิกา





ทักษะ/ระดิความคิด
     ช่วยกันแก้ปัญหาการส่งกระดาษ และช่วยกันตอบปัญหาเกี่ยวกับ
คณิตศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


บรรยากาศในห้องเรียน
    วันนี้แอร์เย็นมาก 



การจัดการเรียนการสอน
    ตอนเช้าอาจารย์ติดงานวันครูแต่ก็ได้สั่งให้นักศึกษาทุกคนใส่ลิ้งค์
บล๊อกรอ ส่วนการสอนวันนี้อาจารย์เตรียมตัวมาดีไม่มีติดขัด 


วิเคราะห์ตนเอง
    วันนี้ฟังที่อาจารย์พูดหรืออธิบายและคอยคิดตาม








วันอาทิตย์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2559




บันทึกการเรียนครั้งที่  1 

วัน ศุกร์  ที่  8 มกราคม 2559 


เนื้อหาที่เรียน
    อาจารย์ให้นักศึกษาเขียนจุดเด่นของตนเอง โดยไม่ต้องเขียนชื่อ
และอาจารย์ก็จะมาอ่านและจะสังเกตดูว่าเป็นคนไหน และอาจารย์ก็บอกว่าทำไมต้องให้เขียนจุดเด่น  เพื่อให้รู้ว่าการเป็นครูปฐมวัยจะต้องจำชื่อของเด็กให้ได้ทุกคนรวมถึงจุดเด่นของเด็กด้วย
     ต่อมาอาจารย์ได้มาถามถึงการแจกกระดาษ 1 แผ่น ต้องแบ่งให้ได้ 3 ส่วน และอาจารย์ก็ถามว่านักศึกษามีวิธีแบ่งกันยังไง เพื่อนช่วยกันตอบมาหลายวิธี  และตอนที่แจกกระดาษ  กระดาษเหลือเศษ  1 แผ่นฉะนั้นกระดาษก็เยอะกว่าคน และเราสามารถนำวิธีไปสอนเด็กด้วย
เรื่อง การบวกลบ


ทักษะ / การระดมความคิด
       มีการระดมความคิดเกี่ยวกับเรื่องการแบ่งกระดาษว่าใครมีความคิดแบบไหนและมีกี่วิธีในการแบ่งกระดาษกับจำนวนคน


บรรยากาศในห้องเรียน
       รู้สึกหนาวมากค่ะ  แต่พอเรียนๆไปก็รู้สึกไม่ค่อยหนาวเท่าไหร่
อุปกรณ์การสอนใช่งานได้ค่ะ

การจัดการเรียนการสอน
      อาจารย์เตรียมตัวมาดีในการสอน ไม่มีติดขัด พูดคุย สนุก
เรียนสนุก ไม่เครียดดีค่ะ  มีเปิดโอกาศให้ถามเมื่อนักศึกษาไม่เข้าใจ


วิเคราะห์ตนเอง
      วันนี้เรียนก็เข้าใจในเรื่องที่เรียนค่ะ  สนุกกับการสอนของอาจารย์
ยังไม่กล้าที่จะตอบ คำถาม